เป็นประธานเปิดโครงการ โดยมีตัวแทนภาคประชาชนจากอำเภอ และกลุ่มต่าง ๆ ของ จ.ชัยนาท เข้าร่วมรับฟังและร่วมแสดงความคิดเห็น และภายในงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กรณี โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย สำหรับ จ.ชัยนาท นั้นเป็นเวทีที่สองในการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จากทั้งหมด 36 เวที (พื้นที่จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย และมีโครงการฯ เข้าไปบริหารจัดการ)
คลังหน่วยกิต(Credit Bank)
SDU SERVICE CENTER
Tel : 0 2244 5555
มสด.ร่วมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เรื่องแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ จ.ชัยนาท
By ชัชวาลย์ ลาภเกิน / In ภาพกิจกรรม /
รศ.พัชรี สวนแก้ว รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พร้อมด้วยนางสาวนันท์ธิญา ศฤงค์สวัสดิ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการภายนอก นายณัฐพล แย้มฉิม ประธานดำเนินงานสวนดุสิตโพล และนักวิจัยจากสวนดุสิตโพล เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กรณี โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย จัดโดยสำนักนายกรัฐมนตรี ณ โรงแรมชัยนาทธานี จ.ชัยนาท เมื่อวันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม 2556 โดยได้รับเกียรติจากนายกำธร ถาวรสถิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท
เป็นประธานเปิดโครงการ โดยมีตัวแทนภาคประชาชนจากอำเภอ และกลุ่มต่าง ๆ ของ จ.ชัยนาท เข้าร่วมรับฟังและร่วมแสดงความคิดเห็น และภายในงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กรณี โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย สำหรับ จ.ชัยนาท นั้นเป็นเวทีที่สองในการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จากทั้งหมด 36 เวที (พื้นที่จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย และมีโครงการฯ เข้าไปบริหารจัดการ)
เป็นประธานเปิดโครงการ โดยมีตัวแทนภาคประชาชนจากอำเภอ และกลุ่มต่าง ๆ ของ จ.ชัยนาท เข้าร่วมรับฟังและร่วมแสดงความคิดเห็น และภายในงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กรณี โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย สำหรับ จ.ชัยนาท นั้นเป็นเวทีที่สองในการเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน จากทั้งหมด 36 เวที (พื้นที่จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย และมีโครงการฯ เข้าไปบริหารจัดการ)