From Library to University การเดินทางจาก One World Library เพื่อไปสู่ University คือ Jigsaw ตัวสุดท้าย แผนการดำเนินงานที่วางไว้ในวาระดำรงตำแหน่งของท่านอธิการบดี รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน แนวคิด One World Library ภาพในอนาคตที่วางไว้คือ “ทุกพื้นที่ของสวนดุสิตคือแหล่งเรียนรู้” โดยเริ่มต้นจากพื้นที่ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จาก Timeline ห้องเรียนสู่ห้องสมุด มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้พัฒนาห้องสมุดมาจนถึงปัจจุบัน การปรับสิ่งแวดล้อมใหม่ ๆ เปิดพื้นที่การเรียนรู้ การพูดคุย จัดกิจกรรม เน้นการพูดคุยให้เกิดความรู้ โดยเชื่อมโยงบูรณาการ พื้นที่ บุคลากร นักศึกษา เพื่อไปสู่ The University “แหล่งเรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบบนมาตรฐานความเข้มแข็งทางวิชาการของตนเอง”

2477-2508

1934 -1965

ยังไม่มีห้องสมุด

No Library.

2509-2511

1966 – 1968

ห้องเก็บผลงานจากงานชึมยุมแม่บ้านและเอกสาร

Housewife’s portfolio and document room.

2512

1969

พัฒนาเป็นห้องสมุดโดยใช้ห้องเรียนชั้น 1 ของอาคาร 1 1 ห้องเรียน

Deleloped one classoom at building 1 to become a library.

2514

1971

ขยายห้องสมุดเพิ่มขึ้นเป็น 2 ห้องเรียน และมีเจ้าหน้าที่ดูแลประจำ

Upsize the library to two classrooms with librarian.

2515-2518

1972 – 1975

เป็นอาคารห้องสมุดและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ปรับปรุงรูปแบบการก่อสร้างตามแบบมาตรฐานของกรมฝึกหัดครูที่เป็นห้องสมุดและห้องประชุมใหญ่มาเป็นห้องสมุดและห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ในส่วนของห้องสมุดจะเน้นชั้นลอยอยู่ใต้ห้องสมุด สำหรับส่วนที่เป็นเอกสารอ้างอิง ห้องสมุดมีบรรณารักษ์ประจำเป็นเจ้าหน้าที่ และอาจารย์บรรณารักษ์

Library building and Science laboratory.

2519-2522

1976 – 1979

ห้องสมุดย้ายมาอยู่ที่อาคารตึก 2 ชั้นล่างครึ่งหนึ่งอีกครึ่งหนึ่งเป็นการเงินและทะเบียน ห้องสมุดเดิมทำเป็นสำนักงานอธิการ และห้องอธิการ ห้องสมุดยังได้จัดทำเป็นห้องสมุดแบบเดิมจัดเรียงหนังสือด้วยระบบดิวอี้ (Dewey)

The library was move to building 2 with dewey books arrangement system.

2523-2531

1980 – 1988

ห้องสมุดย้ายกลับมาที่เดิมพัฒนาให้ทันสมัยขึ้นด้วยระบบห้องสมุดสากล มีภาควิชาบรรณารักษ์ จัดชั้นเกิดขึ้น สำนักงานอธิการบดีและห้องอธิการย้ายมาอยู่อาคารคหกรรมศาสตร์ชั้นล่าง ตึกที่เป็น Cafe by Home ปัจจุบัน

Re-located to the original library building and developed to international modern library system.

2532

1989

ห้องสมุดย้ายมาอยู่อาคารหอสมุดที่ก่อสร้างใหม่พัฒนาระบบต่างๆ ให้ดีขึ้นตามแนวทางหอสมุดยุคใหม่นำภาคเทคโนโลยีทางการศึกษามาอยู่ร่วมด้วย (ใช้ชั้น 4) เป็นจุดเริ่มต้นของการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาเข้ามาสนับสนุน

Move to the present library building and improved better system following new age library direction.
The beginning of using educational technology to bolster up a vast development.

2540

1997

อาคารวิทยบริการหลังใหม่สร้างขึ้นเชื่อมกับอาคารหอสมุดพัฒนาเป็นห้องสมุดแบบใหม่ (หลายคนเรียก Digital Library แต่เห็นว่าความหมายไม่สมบูรณ์แบบเท่า Virtual Library เพื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น)
-ปรับให้ใช้การสืบค้นข้อมูลด้วยระบบ LC.(Library of Congress) แบบระบบ Dewey เพื่อให้เป็นสากล
-Video Conference
-Video Streaming
-ระบบ Computer เพื่อใช้ในการสืบค้น
-ระบบ Internet
-ระบบฐานข็อมูลกลาง
-ระบบยืมคืนอัตโนมัติและเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-ขยายศูนย์การศึกษานอกสถาบันและใช้การสืบค้นข้อมูลจากวิทยบริการที่เดียว
-ยุบรวมศูนย์คอมพิวเตอร์ให้มาอยู่ในวิทยบริการ
-ยุบรวมภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้มาอยู่ในวิทยบริการ

VIRTUAL LIBRARY:
Research through LC. / Dewey system
Video Conference
Video Streaming
Computer Research System
Internet System
Basic Central Data System
Automatic Book Rental System.

2558

2015

Cafe Library กระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ที่หลากหลายและทันสมัย โดยไม่จำกัดขอบเขตของความเป็นห้องสมุดแบบเดิมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ พัฒนาพื้นที่จัดการเรียนรู้แบบใหม่ๆ

Cafe Library
Co-Working Space
Activities Space
Environment Design for Learning and Service

2565

2022

ห้องสมุดที่มีกิจกรรมเรียนรู้หลากหลายรูปแบบบูรณาการร่วมกันบนพื้นที่ต่อเนื่องเชื่อมโยงในรูปแบบต่างๆ
-On-line learning room
-Hybrid learning
-Environment Design for Learning and Services

To be the library that emphasize on types of learning through integration and connection between different spaces

2567

2023

The University “แหล่งเรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบบนมาตรฐานความเข้มแข็งทางวิชาการของตนเอง”

The University (Suan dusit university) the ideal learning center that based on academic solidity